วันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

ไต โรคไต สาเหตุและการดูแลรักษาไตวายเรื้อรัง และปู่จิงตัน (PUJINGTUN)

สาเหตุของไตวายเรื้อรัง
           การที่ไตเสื่อมลงอย่างช้าๆ และต่อเนื่อง จนทำให้ไตเกิดความผิดปกติอย่างถาวร เรียกว่า โรคไตวายเรื้อรัง ส่งผลให้ไตไม่สามารถขับของเสีย  และน้ำที่มีอยู่เกินออกจากกระแสโลหิตได้  ของเสียที่คั่งและของเหลวที่มีอยู่เกิน  ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน 

            ไตวายเรื้อรังมีสาเหตุสำคัญมาจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง, ไตส่วน Glomeruli  อักเสบ, Polycystic Kidney, ยากลุ่ม NSAID, ภาวะยูริคสูง ทำให้ Urate เกาะที่ Medullary  Interstitium  เกิด Interstitial Fibrosis ทำให้ไตเสื่อมลง

           ภาวะไตวายเรื้อรังในระยะแรกอาจไม่พบอาการผิดปกติ  แต่ไตวายเรื้อรังระยะท้ายผู้ป่วยต้องล้างไต หรือเปลี่ยนไตจึงจะมีชีวิตอยู่ได้

 การรักษาภาวะไตวายเรื้อรังมีเป้าหมายสำคัญ  คือ  การป้องกันไม่ให้ภาวะไตวายเรื้อรังดำเนินโรคเป็นภาวะไตวายระยะสุดท้าย  โดยการควบคุมภาวะโรคที่เป็นสาเหตุของไตวาย  เช่น  เบาหวาน  ความดัน  และภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันที่เกิดขึ้นได้  เช่น  การติดเชื้อและการฉีด Contrast เพื่อการวินิจฉัยทางรังสีวิทยา

    อาการแทรกซ้อนที่เกิดจากไตวายเรื้อรัง
    ไตวายเรื้อรังมักจะพบเมื่อตรวจเลือด  หรือปัสสาวะด้วยความผิดปกติหรือโรคอื่นๆ  ส่วนมากแล้วจำนวนปัสสาวะจะปกติ  แต่ปัสสาวะเหล่านี้มีส่วนประกอบของเสียผิดปกติไป

     ผู้ป่วยที่มีไตเสื่อมมากขึ้น  จะเริ่มมีอาการ บวมที่เท้า  ข้อเท้า  ขา  เบื่ออาหาร  ง่วงนอนง่าย  คลื่นไส้หรืออาเจียน  สับสนและสมองตื้อ  บางคนมีความดันโลหิตสูง  ระดับเกลือแร่ผิดปกติ  โลหิตจาง  และโรคกระดูกเสื่อม
        โรคไตวายระยะสุดท้ายผู้ป่วยมีอาการเบื่ออาหาร  คลื่นไส้ หรืออาเจียน  เนื้อเยื่อรอบหัวใจบวม  ปลายประสาทเสื่อม  ความคิดสับสน  ง่วงนอน  ชักและโคม่า (Coma) ปริมาณโปรตีนในปัสสาวะออกมาจำนวนน้อย (Microalbuminuria) 


การดูแลรักษาไตวายเรื้อรัง
       1. การจัดการกับสาเหตุของโรคไตวายเรื้อรัง  สาเหตุบางอย่างรักษาได้  เช่น  นิ่วในไต  ยาบางชนิด เช่น  NSAIDS, โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ,  ภาวะยูริคสูง  เป็นต้น

       2. การควบคุมความดันโลหิต  เนื่องจากผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ร้อยละ 80-85 ของมีสาเหตุมาจากความดันโลหิตสูง  รักษาความดัน โดยยากลุ่ม  Angiotensin  Converting Enzyme  Inhibitor (ACEI)  และกลุ่ม Angiotensin  Receptor Blocker (ARB)  จะสามารถลดความดันโลหิตและปริมาณโปรตีนในปัสสาวะลง  ส่งผลให้ลดอัตราการเสื่อมของโรคไตได้มากกว่ายารักษาความดันโลหิตอื่นๆ
       3. การให้ยาขับปัสสาวะ (Diuretics)  ใช้ร่วมกับ ACEI และ ARB ได้  เพื่อให้คุมความดันให้ปกติ โดยผู้ให้บริการควรแนะนำให้ผู้ป่วยวัดความดันตนเองที่บ้านเป็นระยะๆ
        4. ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังมักมีภาวะโลหิตจางร่วม เพราะ Juxtaglomerular  Apparatus สร้างสาร Erythropoietin ได้น้อยลง  ภาวะเลือดจางทำให้ผู้ป่วยเหนื่อยง่าย  ผู้ป่วยบางคนควรได้รับการฉีด Erythropoietin  โดยผู้ให้บริการ  หรือฝึกญาติให้ฉีดยาให้
         5. การปรับอาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง

             5.1 จำกัดอาหารโปรตีน  ทำให้ผู้ป่วยไม่ต้องล้างไตบ่อย  เพราะหน่วยไต (Nephron)  ไม่ต้องขจัด Urea ซึ่งเป็นสารที่ได้จากการย่อยโปรตีนมากเกินไป
             5.2 การจำกัดอาหารที่ทำให้โปตัสเซียมสูง  และลดยาที่มีการสะสมโปตัสเซียม เพราะผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังมีแนวโน้มที่ระดับโปตัสเซียมสูงและการให้ยาขับปัสสาวะบางชนิดช่วยขจัดโปตัสเซียมได้ 
            5.3 การให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีฟอสเฟต (Phosphate) น้อย  เช่น  ถั่ว  นมถั่วเหลือง  เนยแข็ง  ไก่  นม  และ Yogurt เป็นต้น เนื่องจากหน่วยไต (Nephron) ทำงานได้น้อยลง ส่งผลให้ฟอสเฟตมีปริมาณสูงในกระแสเลือด  จึงไม่ให้ผู้ป่วยผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีฟอสเฟตสูง เพื่อลดการทำงานของไตลง

   ปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์ ปู่จิงตัน(PUJINGTUN) สามารถป้องกันและแก้ปัญหา โรคไต ไตวาย ได้ผลจริง
   
ปริมาณและราคา 1 ขวดบรรจุ 60 แคปซูล ราคา 1050 บาท
   อย. เลขที่ 13-1-02950-1-0036

สั่งสินค้าคลิกที่นี้

ดูข้อมูลที่   http://pujingtunsaibua.blogspot.com

สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่

คุณ สายบัว  บุญหมื่น โทร. 064 334 9466  

ID Line : bua300908

 อีเมล์:    sboonmuen@gmail.com

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น